แผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

วันภาษาไทย

สรุปผลโครงการวันภาษาไทยแห่งชาติ ในวันที่ 29 เดือน กรกฎาคม 2554

ตัวอย่างโครงการ

ชื่อโครงการ                                                          วันภาษาไทย                                                       

สนองกลยุทธ์
สพฐ.                                           ข้อที่  3

สนองมาตรฐานที่  สมศ.                                   ข้อที่  5.1-5 และ 6.1-3

สนองตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ                         

ลักษณะโครงการ                                                 โครงการใหม่                       

ลักษณะกิจกรรมตาม  OUCP                          /   กิจกรรมสนับสนุน         กิจกรรมรอง         กิจกรรมหลัก

                                                                                รหัสกิจกรรม 31

กลุ่มบริหารที่รับผิดชอบ                                    งานการบริหารวิชาการ

ผู้รับผิดชอบ                                                         นายสนั่น   แท่นนอก และคณะ

ระยะเวลาดำเนินงาน                                         27-29 กรกฎาคม 54

 

 

 

1. หลักการและเหตุผล

                พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม
( ฉบับที่ 2 ) พุทธศักราช 2545 มาตรา 22 ว่าด้วยการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพและใน
มาตรา 23
ว่าด้วยการจัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้คุณธรรมกระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาในเรื่อง
( 4 )ความรู้และทักษะคณิตศาสตร์และด้านภาษาเน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องดังนั้นภาษาไทยจึงมีความสำคัญทั้งในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ
เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
การใช้ภาษาจึงเป็นทักษะที่ผู้ใช้ต้องฝึกฝนให้เกิดความชำนาญไม่ว่าจะเป็นการอ่าน
การคิดวิเคราะห์การเขียนการพูดการฟังและการดู
รวมทั้งต้องใช้ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษาเพื่อสื่อสารให้เกิดประสิทธิภาพและใช้อย่างคล่องแคล่ว
มีวิจารณญาณมีคุณธรรมและมีนิสัยรักการอ่าน
ถ้านักเรียนมีความรู้มีความสามารถในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้อย่างเหมาะสมกับระดับชั้นแล้วจะทำให้การเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นดำเนินได้ด้วยดีและมีประสิทธิภาพ

สำหรับความเป็นมาของวันภาษาไทยแห่งชาตินั้นสืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่
29 กรกฎาคม พ.ศ. 2505
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานและทรงอภิปรายเรื่องปัญหาการใช้คำไทย


คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทรงมีพระราชดำรัสตอนหนึ่งว่า “ เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล
จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ” ด้วยตระหนักในความสำคัญเรื่องภาษา
รัฐบาลจึงประกาศให้

วันที่
29 กรกฎาคมของทุกปีเป็นวันภาษาไทยแห่งชาติตั้งแต่ พ.ศ. 2542  เป็นต้นมา

ฝ่ายการบริหารวิชาการโรงเรียนบ้านดอนตะหนิน  เห็นสมควรจัดโครงการวันภาษาไทยขึ้นเพื่อปลูกฝังส่งเสริมให้นักเรียนในท้องถิ่นตระหนักและเห็นคุณค่าของภาษาไทย
อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยภูมิปัญญาและท้องถิ่นของไทยสืบต่อไป

 

2.
วัตถุประสงค์

                2.1
ผลผลิต (
Output)
2.1.1 สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านคิดวิเคราะห์ การเขียน
การฟังการดูและการพูด

2.1.2
สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยและภูมิปัญญาไทย

                2.2 ผลลัพธ์ (Outcomes)

2.2.1
นักเรียนมีทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์การเขียน
การฟังการดูและการพูดรวมทั้งการใช้ภาษา

2.2.2 นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและจดบันทึกข้อมูล

2.2.3
นักเรียนเห็นคุณค่าและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยและภูมิปัญญาไทย

2.2.4
นักเรียนมีความสามารถในการแข่งขันความเป็นเลิศทางวิชาการ

 

3. เป้าหมาย

3.1
นักเรียนมีทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์การเขียน การฟังการดูและการพูดรวมทั้งการใช้ภาษาร้อยละ
85

3.2
นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและจดบันทึกข้อมูล ร้อยละ 85

3.3
นักเรียนมีความสามารถในการแข่งขันความเป็นเลิศทางวิชาการ ร้อยละ 85

3.4
นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ร้อยละ 85

3.5
นักเรียนเห็นคุณค่าและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยและภูมิปัญญาไทย ร้อยละ 85

4. กิจกรรมและการดำเนินงาน

ที่

กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1. ประชุมชี้แจงเสนออนุมัติโครงการ

19 กรกฎาคม 2554

คณะครูและบุคลากรในโรงเรียน
2. แต่งตั้งคณะดำเนินงาน

21 กรกฎาคม 2554

ผู้บริหารโรงเรียน
3. ประชาสัมพันธ์โครงการ

21-28 กรกฎาคม 2554

คณะครูและบุคลากรในโรงเรียน
4. กิจกรรมประกวดผลงานทางวิชาการ

29 กรกฎาคม 2554

คณะกรรมการดำเนินงาน

5.

จัดนิทรรศการผลงานทางวิชาการ

29 กรกฎาคม 2554

คณะครูและบุคลากรในโรงเรียน

 

5. ทรัพยากรที่ต้องการ

1) งบประมาณ                      (      งบอุดหนุน
งบปัจจัยพื้นฐาน          งบประมาณภายนอก )

– ค่าวัสดุ                            จำนวน      8,000
บาท

– ค่าครุภัณฑ์                     จำนวน           –        บาท

– ค่าใช้สอย                       จำนวน
–      บาท
รวมงบประมาณทั้งสิ้น   จำนวน
8,000      บาท

2 ) บุคลากร

– ผู้บริหาร

– คณะกรรมการดำเนินงาน

– นักเรียน

6. การติดตามผล

ตัวบ่งชี้สภาพความสำเร็จ

วิธีการตรวจสอบ

เครื่องที่ใช้ในการวัดผล

ผลผลิต ( Output )

1.
สถานศึกษาจัดกิจกรรมนิทรรศการผลงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

2.
สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยและภูมิปัญญาไทย

3.
สถานศึกษาจัดกิจกรรมแข่งขันความเป็นเลิศทางวิชาการ

 

 

1.ประเมิน

 

2.สำรวจ

 

3.ทดสอบ

 

 

1.แบบประเมิน

 

2.แบบสำรวจ

 

3.แบบทดสอบ

ผลลัพธ์ ( Outcome )

1.
นักเรียนศึกษาผลงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจากการจัดนิทรรศการ

2.
นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและจดบันทึกข้อมูล

3.
นักเรียนเห็นคุณค่าและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยและภูมิปัญญาไทย

4.
นักเรียนมีความสามารถในการแข่งขันความเป็นเลิศทางวิชาการ

 

1.ประเมิน

 

2.บันทึก

3.สำรวจ

 

4.ประเมิน

 

1.แบบประเมิน

 

2.แบบบันทึก

3.แบบสำรวจ

 

4.แบบประเมิน

 
(ลงชื่อ)
ผู้เสนอโครงการ

(
นายสนั่น   แท่นนอก )
ครู    โรงเรียนบ้านดอนตะหนิน

 
(ลงชื่อ)                                        ผู้เห็นชอบโครงการ
( นางสมจิตร      แคชัยภูมิ )
หัวหน้างานบริหารวิชาการ

 
(ลงชื่อ)
ผู้อนุมัติโครงการ
( นายสงกรานต์       ทองหล่อ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนตะหนิน

เพลงฉันคือเมฆ

                                                   เพลงฉันคือเมฆ

ฉันคือเมฆๆ   ลอยไปลอยมา  อยู่บนฟากฟ้า  ลอยไปลอยมา   ลอยมาลอยไป   ฉันเกิดขึ้นจากไอน้ำน้อย ที่ลอยขึ้นบนนภา แล้วเจออากาศที่เย็นๆ ฉันเย็นฉันจึงเข้ามา  เข้ามารวมตัวกัน   มาผูกสัมพันธ์คือเมฆ

 

 

Hello world!

Welcome to WordPress.com. After you read this, you should delete and write your own post, with a new title above. Or hit Add New on the left (of the admin dashboard) to start a fresh post.

Here are some suggestions for your first post.

  1. You can find new ideas for what to blog about by reading the Daily Post.
  2. Add PressThis to your browser. It creates a new blog post for you about any interesting  page you read on the web.
  3. Make some changes to this page, and then hit preview on the right. You can alway preview any post or edit you before you share it to the world.